บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เสาเข็ม มีความสำคัญกับการสร้างใหม่อย่างไร?? และควรเลือกใช้เสาเข็มแบบไหน??

เสาเข็ม มีความสำคัญกับการสร้างใหม่อย่างไร?? และควรเลือกใช้เสาเข็มแบบไหน?? ก่อนที่จะเริ่มการก่อสร้างทุกชนิด สิ่งแรกที่จะต้องเริ่มทำคือ การตอกเสาเข็ม เพราะเสาเข็มเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการรับน้ำหนักจากโครงสร้างทั้งหมด ถ่ายเทลงสู่พื้นดิน โดยในการตอกเสาเข็มจะต้องตอกให้ถึงชั้นดินทรายแข็ง เพราะเป็นชั้นที่สามารถรับน้ำหนักได้ดีที่สุด หากตอกลงไปไม่ถึงชั้นดินทรายนี้ อาจทำให้เกิดปัญหาการทรุดตัวได้ในอนาคต และในทุกการตอกเสาเข็มจะต้องมีการออกแบบและคำนวณความปลอดภัยของเสาเข็มโดยวิศวกรที่มีประสบการณ์ และเสาเข็มนั้นมีมากมายหลายประเภท ขึ้นอยู่กับลักษณะหรือรูปแบบของการก่อสร้าง ภูมิสยาม เราขอแนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เสาเข็มที่เป็นได้มากกว่าการต่อเติม เพราะเป็นเสาเข็มที่มีความหนาแน่นสูง … Read More

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE)

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาตอบคำถามสั้นๆ ง่ายๆ แต่ น่าจะมีประโยชน์ที่เพื่อนของผมท่านหนึ่งเคยสอบถามผมไว้พักใหญ่ๆ แล้วข้อหนึ่ง นั่นก็คือ “หากว่ามีความประสงค์ที่จะทำการขุดและถมดินในบริเวณที่ดินที่ซื้อเอาไว้ อยากที่จะรบกวนให้ผมช่วยทำการอธิบายและเล่าให้ทราบถึงข้อพิจารณาในการทำงานขุดและถมดินให้ได้ทราบได้หรือไม่ครับ ?” การทำงานการขุดและถมดินเป็นการนำ หรือ เคลื่อนย้ายดินจากแหล่งหนึ่งไปสู่อีกแหล่งหนึ่งเพื่อให้ระดับของดิน … Read More

การดัดของคานทั้งการเสียรูปแบบน้อย (SMALL DISPLACEMENT) และ แบบมาก (LARGE DISPLACEMENT)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกท่าน วันนี้แอดมินจะมาเล่าให้ฟังถึงสมมติฐานถึงเรื่องการดัดของคานทั้งการเสียรูปแบบน้อย (SMALL DISPLACEMENT) และ แบบมาก (LARGE DISPLACEMENT) ให้เพื่อนๆ ได้ทราบกันนะครับ และสมมติฐานเหล่านี้จะใช้สำหรับการวิเคราะห์เฉพาะคานที่ทำขึ้นจากวัสดุที่มีพฤติกรรมความเป็นเชิงเส้น (LINEAR ELASTIC MATERIAL) เท่านั้นนะครับ (1) ระนาบของหน้าตัดคานยังคงอยุ่ในระนาบเดิมหลังจากเกิดการเปลี่ยนตำแหน่งจากการดัด (ดูรูปประกอบนะครับ) (2) ระนาบยังคงตั้งฉากกับหน้าตัดตามแกนแนวยาวของคานที่พิจารณาก่อนเกิดการเปลี่ยนตำแหน่งเนื่องจากการดัด … Read More

สารยับยั้งการเกิดสนิมของเหล็กเสริม (CORROSION INHIBITOR)

การเกิดสนิมของเหล็กเสริมในโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก เป็นปัญหาสำคัญที่ก่อให้เกิดความเสียหายทั้งรอยแตกร้าว คราบน้ำสนิม การหลุดร่อนของคอนกรีต รวมไปถึงการพังทลายของโครงสร้าง ความเสียหายที่มักพบเนื่องจากสาเหตุการเกิดสนิมได้แก่ คราบน้ำสนิมบนผิวคอนกรีต รอยแตกร้าวเนื่องจากการขยายตัวของสนิมเหล็ก การระเบิดออกของผิวคอนกรีต ซึ่งหากไม่มีการซ่อมแซมโครงสร้างดังกล่าวอย่างถูกต้องเหมาะสม อาจนำไปสู่การพังทลายของโครงสร้างได้ การซ่อมแซมการเกิดสนิมอีกวิธีวิธีที่ได้รับการนิยมเป็นอย่างสูง ได้แก่ การใช้สารยับยั้งการเกิดสนิม ซึ่งมีความสะดวกในการดำเนินการ และอาจใช้ควบคู่ไปกับวิธีการป้องกันและซ่อมแซมอื่นๆ ได้ เพื่อให้ระบบการป้องกันและซ่อมแซมมีความประสิทธิภาพ และมีความคงทนมากยิ่งขึ้น สารยับยั้งการเกิดสนิม (Corrosion Inhibitor) … Read More

1 102 103 104 105 106 107 108 185