ฐานรากตื้น หรือ SHALLOW FOUNDATION เกี่ยวกับ ค่าความสามารถในการรับกำลังแบกทานของดิน หรือ BEARING CAPACITY OF SOIL
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หลังจากที่ก่อนหน้านี้ผมได้เคยนำเสนอและเกริ่นถึงเรื่อง ฐานรากตื้น หรือ SHALLOW FOUNDATION เกี่ยวกับ ค่าความสามารถในการรับกำลังแบกทานของดิน หรือ BEARING CAPACITY OF … Read More
แรงดันดินใต้ฐานราก (BEARING PRESSURE OF SOIL UNDER ON GRADE FOOTING)
แรงดันดินใต้ฐานราก (BEARING PRESSURE OF SOIL UNDER ON GRADE FOOTING) แรงดันดินหรือแรงดันแบกทาน (BEARING PRESSURE) ภายใต้ฐานรากนั้นหาได้โดยการตั้งสมมุติฐานให้ตัวฐานรากนั้นเป็นองค์อาคารที่มีความแข็ง (RIGID) และดินใต้ฐานรากนั้นมีคุณสมบัติเป็นวัสดุที่เป็นเนื้อเดียวกัน ซึ่งมีความยืดหยุ่นตัว (HOMOGENEOUS ELASTIC MATERIAL) ซึ่งเราจะถือว่าดินในบริเวณนี้นั้นถูกตัดขาดออกจากดินโดยรอบฐานรากเนื่องจากแรงดันในดินนี้จะถูกสมมุติให้มีค่าแปรผันโดยตรง … Read More
สร้างใหม่ ฐานรากจะมั่นคงหรือไม่ขึ้นอยู่กับเสาเข็ม
สร้างใหม่ ฐานรากจะมั่นคงหรือไม่ขึ้นอยู่กับเสาเข็ม สำหรับงานสร้างใหม่ เสาเข็มเป็นสิ่งที่สำคัญ เพราะเป็นตัวรับน้ำหนักฐานรากและโครงสร้างทั้งหมดลงสู่ชั้นดิน และการตอกเสาเข็มจะต้องตอกให้ลึกถึงชั้นดินดาน หรือให้ได้ความลึกตาม BLOW COUNT ที่กำหนด เพื่อการรับน้ำหนักปลอดภัย และถูกต้องตามหลักวิศวกรรม โดยการตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ของทางภูมิสยาม มีวิศวกรกำกับดูแลงานหน้างาน และทีมช่างตอกที่มีประสบการณ์ เพื่อให้การตอกเสาเข็มเป็นไปอย่างถูกต้องได้มาตรฐาน และเสาเข็มสปันไมโครไพล์ นอกจากจะติดตั้งสะดวกรวดเร็ว เข้าถึงได้ทุกพื้นที่ ยังสามารถรับน้ำหนักได้ทันทีเมื่อติดตั้งแล้วเสร็จ … Read More
ขนาดความลึกที่เหมาะสมของโครงถักเหล็ก หรือ STEEL TRUSS
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หลังจากที่ในการโพสต์ครั้งก่อนนี้ผมได้ให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ทุกคนรวมไปถึงเพื่อนที่เป็นสถาปนิกถึงเรื่อง ขนาดที่เหมาะสมของเสา ไปแล้วนะครับ ผมได้รับคำถามเพิ่มเติมมาอีกว่าอยากให้ผมนั้นให้คำแนะนำเกี่ยวกับเรื่อง ขนาดความลึกที่เหมาะสมของโครงถักเหล็ก หรือ STEEL TRUSS ด้วยนะครับ หากเป็นเช่นนั้นผมก็ขอจัดให้ตามคำร้องขอเลยก็แล้วกันนะครับ เพื่อนๆ ดูรูปประกอบด้วยนะครับ โดยผมขอแบ่งประเภทของโครงถักออกเป็น 2 รูปแบบหลักๆ คือ (1) … Read More