บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และไอไมโครไพล์ I Micropile(เสาเข็มไอ) เสาเข็มคุณภาพโดยภูมิสยาม เหมาะสำหรับเสริมฐานราก อาคารโรงงาน 

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และไอไมโครไพล์ I Micropile(เสาเข็มไอ) เสาเข็มคุณภาพโดยภูมิสยาม เหมาะสำหรับเสริมฐานราก อาคารโรงงาน  เสริมฐานรากภายในอาคารโรงงาน ต้องใช้เสาเข็มที่มีความมั่นคงแข็งแรงสูง เพื่อรองรับน้ำหนักเครื่องจักรขนานใหญ่ และไม่ให้เกิดปัญหาการทรุดตัวในภายหลัง เราขอแนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ และไอไมโครไพล์ ของภูมิสยาม เป็นเสาเข็มที่มีเนื้อคอนกรีตที่หนาแน่น และโครงเหล็กฝังอยู่ในเนื้อคนกรีตโดยรอบ … Read More

การใช้งาน NON-SHRINK GROUT เพื่อซ่อมแซมชิ้นส่วนโครงสร้างคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากในช่วงนี้ผมได้มีโอกาสไปตรวจการทำงานของ ผรม ที่หน้างาน โดยในการทำงานของ ผรม นั้นมีการใช้งาน NON-SHRINK GROUT เพื่อซ่อมแซมชิ้นส่วนโครงสร้างคอนกรีตด้วยครับ ผมเห็นว่าหากนำความรู้เรื่องนี้มาเผยแพร่ ก็น่าที่จะมีประโยชน์ต่อเพื่อนๆ ด้วยนะครับ วัสดุนอนชริ้งเกร้าท์ หรือ NON-SHRINK GROUT ก็คือ วัสดุซีเมนต์ผสมพิเศษที่ให้ค่าการรับกำลังอัดที่สูงมาก … Read More

การออกแบบฐานรากตื้น (SHALLOW FOUNDATION)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ เนื่องจากมีน้องวิศวกรท่านหนึ่งหลังไมค์ถามแอดมินเกี่ยวกับเรื่อง การออกแบบฐานรากตื้น (SHALLOW FOUNDATION) ว่ามีหลักและวิธีในการออกแบบในะระดับที่ ADVANCE ขึ้นไปจากขั้นตอนปกติทั่วๆ ไปอย่างไรบ้าง แอดมินเห็นว่ามีประโยชน์เลยจะมาขออธิบายให้แก่เพื่อนๆ ได้รับฟังกันในเพจนี้ด้วยนะครับ ก่อนอื่นต้องขอเล่าให้ฟังก่อนนะครับว่าระบบฐานรากในโครงสร้างนั้นมีอยุ่ด้วยกันหลากหลายรูปแบบมาก โดยแต่ละรูปแบบนั้นจะมีทั้งข้อดี และ ข้อด้อย ของตัวเองขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ที่ใช้    อย่างไรก็ตามระบบฐานรากที่พบโดยทั่วไปจะจำแนกออกได้เป็น (A) … Read More

เทคนิคในการ วิเคราะห์ และ แก้ไข งานวิศวกรรมฐานราก

เทคนิคในการ วิเคราะห์ และ แก้ไข งานวิศวกรรมฐานราก ปัญหาที่พบเจอ คือ ฐานรากใช้ระบบ เสาเข็มเหล็ก ร่วมกันกับ เสาเข็มคอนกรีต โดยที่ฐานรากยังเป็นฐานรากจม แต่ ปัญหาที่เรามักพบสำหรับกรณีนี้ คือ ความยาวของ เสาเข็มคอนกรีต และ เสาเข็มเหล็ก นั้นจำเป็นต้องใช้เท่ากันหรือไม่ … Read More

1 154 155 156 157 158 159 160 185