บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

การทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (DYNAMIC LOAD TEST)

การทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (Dynamic Load Test) เป็นที่ยอมรับทั่วไปและมีมาตรฐานรองรับ ได้แก่ ASTM D4945-96 นอกจากนั้น การทดสอบดังกล่าวมีข้อดีหลายประการ เช่น สามารถทำการทดสอบได้ภายในระยะเวลาสั้น ๆ เสาเข็มหลายต้นสามารถทําการทดสอบได้ในวันเดียว ต้องการพื้นที่รอบๆ เสาเข็มไม่มากนักในการเตรียมการทดสอบ ผลการทดสอบให้ข้อมูลที่เพียงพอเกี่ยวกับเสาเข็มในเรื่องของกําลังรับน้ําหนักและความสมบูรณ์ของเสาเข็ม เป็นการทดสอบที่ประหยัดค่าใช้จ่าย อุปกรณ์วัดสัญญาณ จะวัดสัญญาณและแสดงผลในรูปแบบของการเปลี่ยนแปลงแรงเทียบกับเวลาและการเปลี่ยนแปลงความเร็วเทียบกับเวลา โดยอุปกรณ์หลักจะประกอบไปด้วยหัววัดสัญญาณ … Read More

เกี่ยวกับบริษัท-ภูมิสยาม ซัพพลาย

ภูมิสยาม ซัพพลาย ใบทะเบียนพาณิชย์ ใบอนุญาตประกอบโรงงาน ใบ ภพ. 20 แผนที่ตั้งโรงงาน เอกสารรับรองลิขสิทธ์ สิ่งพิมพ์ ประเภท Spun Miro Pile   ใบทะเบียนพาณิชย์ ใบอนุญาตประกอบโรงงาน ใบ ภพ. 20 … Read More

ต่อเติมบ้านแบบไม่ทรุดด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) ตอกเพื่อป้องกันการทรุดตัวของส่วนต่อเติมได้ตรงจุด

ต่อเติมบ้านแบบไม่ทรุดด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) ตอกเพื่อป้องกันการทรุดตัวของส่วนต่อเติมได้ตรงจุด ต่อเติมบ้านเป็นการเชื่อมต่อกันระหว่างโครงสร้างเก่า และโครงสร้างใหม่ จึงเกิดปัญหาการทรุดตัวที่เป็นปัญหาใหญ่ เราขอแนะนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์ เสาเข็มที่เหมาะสำหรับงานต่อเติมและการรับน้ำหนัก สามารถป้องกันปัญหาการทรุดตัวของส่วนต่อเติมได้ตรงจุด ขณะตอกแรงสั่นสะเทือนน้อย สามารถตอกชิดกำแพงหรือผนังได้ 50 ซม. จากเซ็นเตอร์เสาเข็ม โดยไม่ทรงผลกระทบต่อโครงสร้างเดิม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ได้รับอนุญาตแสดงเครื่องหมายมาตรฐาน มอก.397-2524 มาตรฐานการออกแบบการผลิตและตอก … Read More

การดัดของคานทั้งการเสียรูปแบบน้อย (SMALL DISPLACEMENT) และ แบบมาก (LARGE DISPLACEMENT)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกท่าน วันนี้แอดมินจะมาเล่าให้ฟังถึงสมมติฐานถึงเรื่องการดัดของคานทั้งการเสียรูปแบบน้อย (SMALL DISPLACEMENT) และ แบบมาก (LARGE DISPLACEMENT) ให้เพื่อนๆ ได้ทราบกันนะครับ และสมมติฐานเหล่านี้จะใช้สำหรับการวิเคราะห์เฉพาะคานที่ทำขึ้นจากวัสดุที่มีพฤติกรรมความเป็นเชิงเส้น (LINEAR ELASTIC MATERIAL) เท่านั้นนะครับ (1) ระนาบของหน้าตัดคานยังคงอยุ่ในระนาบเดิมหลังจากเกิดการเปลี่ยนตำแหน่งจากการดัด (ดูรูปประกอบนะครับ) (2) ระนาบยังคงตั้งฉากกับหน้าตัดตามแกนแนวยาวของคานที่พิจารณาก่อนเกิดการเปลี่ยนตำแหน่งเนื่องจากการดัด … Read More

1 166 167 168 169 170 171 172 185