บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

“Post-“

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW) นะครับ เมื่อสัปดาห์ก่อนผมได้เล่าให้ฟังถึงคำว่า “Pre-“ ไป วันนี้เราจะมาดูคำที่มีความหมาย “ตรงกันข้าม” กับคำๆ นี้กันดีกว่า นั่นก็คือคำว่า “Post-“ นั่นเองนะครับ … Read More

“ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” เหตุใดจึงควรคำนึงถึงรายละเอียดที่มีความเกี่ยวข้องกันกับงานวิศวกรรมโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เนื่องจากก่อนหน้านี้ผมได้ปรารภเป็นการส่วนตัวในหน้าเพจส่วนตัวของผมเกี่ยวกับเรื่อง การทำรายละเอียดของงานวิศวกรรมโครงสร้าง คสล ให้แก่ช่างที่ทำงานที่หน้างานในทำนองที่ว่า หน้าที่ของผู้ออกแบบที่ดีคือ ต้องคิดและคำนึงถึงอยู่เสมอว่าคนทำงานเค้าจะมีความเข้าใจถึงรายละเอียดต่างๆ ที่ผู้ออกแบบอย่างเราๆ นั้นได้ทำการคิดและทำการออกแบบไว้มากหรือน้อยเพียงใดในทุกๆ งานออกแบบ ไม่ว่างานนั้นจะเป็นงานเล็กหรืองานใหญ่เพียงใดก็ตาม ซึ่งสำหรับหลายๆ คนนั้นอาจจะคิดว่า … Read More

เสาเข็มไมโครไพล์ SPUN MICROPILE มาตรฐาน มอก. โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม) เป็นที่นิยมในงานต่อเติมอาคาร พร้อมประกันตอกถึง 7 ปี

เสาเข็มไมโครไพล์ SPUN MICROPILE มาตรฐาน มอก. โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม) เป็นที่นิยมในงานต่อเติมอาคาร  พร้อมประกันตอกถึง 7 ปี สปันไมโครไพล์แท้ภูมิสยาม พร้อมบริการทุกการก่อสร้างเสาเข็มเรามีหลายขนาด เริ่มตั้งแต่เหมาะสำหรับโครงสร้างชั้นเดียว รับน้ำหนัก 15 ตัน/ต้น จนถึงการรับน้ำหนักมากถึง 50 … Read More

คำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ค่าFFLและSFL

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ   ผมเชื่อว่าเวลาที่เพื่อนๆ ทุกคนได้อ่านข้อมูลจากแบบก่อสร้างไม่ว่าจะเป็นแบบสถาปัตยกรรมก็ดีหรือว่าแบบวิศวกรรมโครงสร้างก็ดี เพื่อนหลายๆ คนคงจะเคยเห็นอักษรย่อในภาษาอังกฤษว่า “FFL. xxx” และ “SFL. xxx” ที่จะอ้างอิงลงไปที่ตำแหน่งของระดับ “พื้น” … Read More

1 31 32 33 34 35 36 37 185