บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เสริมฐานรากภายในอาคาร ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)

เสริมฐานรากภายในอาคาร ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) อาคารที่โครงสร้างมีน้ำหนักสูง ควรมีฐานรากที่มั่นคงและการรับน้ำหนักปลอดภัย ภูมิสยาม เราขอแนะนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์ เสาเข็มที่ตอบโจทย์ในเรื่องของการรับน้ำหนัก เพราะถูกออกแบบมาให้สามารถรับน้ำหนักได้ตามที่วิศวกรออกแบบ ถึง15-50 ตัน/ต้น (ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่) โดยเสาเข็มมีโครงเหล็กฝังอยู่ในเนื้อคนกรีตโดยรอบ ผลิตโดยใช้กรรมวิธีการเหวี่ยงคอนกรีตในแบบหล่อ ทำให้เสาเข็มมีความหนาแน่นและแข็งแกร่งกว่าเสาเข็มคอนกรีตที่หล่อด้วยวิธีธรรมดา และเสาเข็มสามารถเชื่อมต่อแต่ละท่อนได้โดยการเชื่อมด้วยไฟฟ้า และใชั้ปั้นจั่นแบบพิเศษในการตอก ทำให้สามารถตอกต่อกันได้ลึกถึงชั้นดินทรายแข็ง … Read More

ต่อเติมบ้าน ใช้เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) สามารถตอกในที่แคบได้ ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย

ต่อเติมบ้าน ใช้เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) สามารถตอกในที่แคบได้ ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย ต่อเติมบ้าน ต้องการตอกเสาเข็มแต่มีพื้นที่จำกัด แนะนำเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ปั้นจั่นที่ใช้ในการตอกนั้นมีความยาวแนวราบ 3 เมตร ความสูง 3 เมตร และมีความกว้างเพียงแค่ 1 เมตร … Read More

วิศวกรรมแผ่นดินไหว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องวิศวกรรมแผ่นดินไหวต่อเนื่องจากโพสต์เมื่อวานของผมนะครับ เพื่อนๆ ทราบหรือไม่ครับว่าการวิเคราะห์แรงต้านทานแรงกระทำจากแผ่นดินไหว หรือ SEISMIC ANALYSIS นั้นจะแตกต่างไปจากการวิเคราะห์โครงสร้างเนื่องจาก นน บรรทุกประเภทอื่นๆ เช่น นน บรรทุกคงที่ นน บรรทุกจร นน บรรทุกแรงลม เป็นต้น สาเหตุเป็นเพราะว่าแรงกระทำที่เกิดจากแผ่นดินไหวนั้นจะทำให้อาคารเกิดการเคลื่อนที่ในรูปแบบวัฎจักร … Read More

วิธีพิจารณาระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็ม FOUNDATION

วิธีพิจารณาระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็ม ก่อนอื่นจะต้องทราบก่อนว่า กำลังออกแบบให้โครงสร้างฐานรากของเรานั้นมีสมมติฐานเป็นแบบใดระหว่าง “ฐานรากที่มีความอ่อนตัว FLEXIBLE FOUNDATION” หรือว่าเป็น “ฐานรากที่มีความแข็งตัว RIGID FOUNDATION” พอทราบสมมติฐานข้างต้นแล้ว ก็จะมีเกณฑ์ในเรื่องของการคำนวณหาระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุด หากว่าโครงสร้างฐานรากนั้นเป็นฐานรากที่มีความอ่อนตัว สำหรับกรณีนี้จะไม่มีข้อจำกัดเรื่องระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุด เพราะโครงสร้างฐานรากก็จะต้องเกิดการเสียรูปได้อยู่แล้ว ดังนั้นจึงไม่มีความจำที่จะต้องทำการคำนึงถึงเรื่องระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุด หากว่าโครงสร้างฐานรากนั้นเป็นฐานรากที่มีความแข็งตัว สำหรับกรณีนี้จะต้องพิจารณาเรื่องข้อจำกัดในเรื่องระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุด เพราะว่าเวลาออกแบบโครงสร้างฐานรากโดยอาศัยสมมติฐานนี้นั่น ก็เท่ากับว่ากำลังอาศัยทฤษฎีของแผ่นเปลือกหนาหรือ … Read More

1 6 7 8 9 10 11 12 185