บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

รถไฟฟ้าสายสีเขียวไว้วางใจ เสาเข็มภูมิสยาม ข่าวกรุงเทพธุรกิจ

รถไฟฟ้าสายสีเขียว วางใจ เสาเข็มภูมิสยาม นายรัฐโรจน์ ภูริหิรัญพิพัฒ (ที่ 5 จากซ้าย) กรรมการผู้จัดการบริษัทภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้ผลิตและจัดจำหน่ายเสาเข็มสปันไมโครไพล์ เทคโนโลยีการผลิตจากประเทศเยอรมัน ให้การต้อนรับผู้บริหารและทีมวิศวกรจากบริษัทชั้นนำในวงการก่อสร้าง ได้แก่ อิตาเลี่ยนไทย ปูนซิเมนต์ไทย (เอสซีจี ) และซิก้า … Read More

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) อีกทางเลือกสำหรับงานต่อเติมบ้าน สามารถตอกชิดกำแพงที่มีกระจกได้

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) อีกทางเลือกสำหรับงานต่อเติมบ้าน สามารถตอกชิดกำแพงที่มีกระจกได้ ต้องการเสาเข็ม เพื่อใช้ในงานต่อเติมบ้าน แต่กังวลแรงสั่นสะเทือนจะกระทบกระจก แนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ สามารถตอบโจทย์คุณได้ เพราะเสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลางจากการ (SPUN) ทำให้ลดแรงดันของดินขณะตอกได้ ขณะตอกแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก สามารถตอกชิดกำแพง หรือกำแพงที่มีกระจก ได้ 50 ซม. … Read More

SPUN MICROPILE มาตรฐาน มอก. โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม) เป็นที่นิยมในงานต่อเติมอาคาร ต่อเติมบ้าน ครับ

SPUN MICROPILE มาตรฐาน มอก. โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม) เป็นที่นิยมในงานต่อเติมอาคาร ต่อเติมบ้าน ครับ ต้องการตอกเสาเข็มที่สะดวกรวดเร็ว ไม่มีดินโคลน แนะนำ ตอกด้วยเสาเข็ม แนะนำ SPUN MICROPILE คุณภาพมาตรฐาน มอก. – … Read More

การนำเอา KernPoint มาช่วยพิจารณาว่าจะเกิดแรงเค้นดึงขึ้นในหน้าตัดโครงสร้างหรือไม่

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่ง ซึ่งในวันนี้ผมยังคงอยู่นอกสถานที่อยู่ ยังไม่สะดวกที่จะทำการอัดคลิปให้แก่เพื่อนๆ ผมจึงจะขออนุญาตที่จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” ก่อนนะครับ อย่างที่ผมได้เรียนเพื่อนๆ ไปเมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่าในสัปดาห์นี้เราจะมาดูตัวอย่างง่ายๆ กันสักหนึ่งข้อเกี่ยวกับเรื่องการคำนวณหาว่า ภายในหน้าตัดโครงสร้างของเรานั้นจะเกิดแรงเค้นดึงหรือ TENSILE STRESS ขึ้นหรือไม่โดยอาศัยการคำนวณจากค่า KERN POINT … Read More

1 136 137 138 139 140 141 142 185