บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

การหาคำนวณหาว่าตำแหน่งใดที่จะเกิดค่าการเสียรูปสูงที่สุด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ เนื่องจากในสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นผมได้นำเอาตารางที่แสดงถึงค่าของการเสียรูปต่างๆ ของโครงสร้างคานรับแรงดัดมาฝากให้แก่เพื่อนๆ ไปเนื่องจากได้มีน้องผู้หญิงท่านหนึ่งที่กำลังศึกษาอยู่ในชั้นปีที่ 3 ในสาขาวิศวกรรมโยธา โดยที่ตอนนี้น้องกำลังเรียนวิชาการออกแบบโครงสร้างเหล็กหรือ STRUCTURAL STEEL DESIGN โดยที่ใจความของปัญหานั้นมีดังนี้ครับ “หนูเคยเห็นเวลาที่พี่ยกตัวอย่างถึงการคำนวณในเรื่องของคานรับแรงดัด พี่จะพูดและยกตัวอย่างอยู่เสมอว่าให้ทำการตรวจสอบเรื่องแรงเค้นดัดที่ยอมให้ควบคู่ไปกับการตรวจสอบค่าการโก่งตัวของคานรับแรงดัดเสมอ … Read More

ต่อเติมอาคาร เพื่อเสริมความมั่นคงแข็งแรงให้กับฐานราก ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) เสาเข็มมาตรฐาน มอก.

ต่อเติมอาคาร เพื่อเสริมความมั่นคงแข็งแรงให้กับฐานราก ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) เสาเข็มมาตรฐาน มอก. การต่อเติมอาคาร จะต้องมีการตอกเสาเข็ม เพื่อป้องกันปัญหาการทรุดตัวที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต และเป็นการเสริมความมั่นคงแข็งแรงให้กับโครงสร้างเดิม “เสาเข็ม” จึงมีความสำคัญมาก และการเลือกใช้เสาเข็มก็เป็นสิ่งสำคัญ ภูมิสยาม เราขอแนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มขนาดเล็ก แต่มีความแข็งแรงทนทาน และหนาแน่นสูง … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) อย่างที่ผมเรียนเพื่อนๆ ไปว่าวันนี้ผมจะขออนุญาตเลือกหัวข้อมาอธิบายถึงเรื่องวิธีในการออกแบบโครงสร้างคอนรีตให้สามารถที่จะต้านทานต่อแรงจำพวกหนึ่ง ซึ่งก็คือ แรงเฉือนทะลุ หรือ PUNCHING SHEAR ให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกันแต่ก่อนอื่นเลยเรามาทำความรู้จักกับรูปแบบของการวิบัตินี้กันสักเล็กน้อยนะครับ รูปแบบของการที่โครงสร้างเกิดการวิบัติแบบเจาะทะลุ มักจะเกิดขึ้นในโครงสร้างที่มีสัดส่วนความแข็งแรงของโครงสร้างทางด้านข้างที่น้อย (LOW … Read More

อธิบายค่าต่างๆในสมการ การคำนวณหาค่าระยะค้ำยันทางด้านข้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการอธิบายค่าต่างๆ ในสมการข้างต้นพร้อมกับยก ตย ง่ายๆ ในการคำนวณหาค่าระยะค้ำยันทางด้านข้างแก่เพื่อนๆ ทุกๆ คนนะครับ เพื่อเป้กรไม่เสียเวลาเรามาเริ่มจากค่าแรกกันเลยครับ … Read More

1 41 42 43 44 45 46 47 185