“ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” การทดสอบความสมบูรณ์ของโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ เอาไว้ในสัปดาห์ที่แล้วว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาขยายความเกี่ยวกับเรื่องข้อมูลที่เราจะสามารถตรวจพบและไม่สามารถที่จะตรวจพบได้จากการทำการทดสอบความสมบูรณ์ของโครงสร้างเสาเข็มโดยวิธีการใส่แรงกระแทกเข้าไปที่ส่วนบนของโครงสร้างเสาเข็ม ซึ่งโพสต์นี้ก็น่าที่จะเป็นโพสต์สุดท้ายเกี่ยวกับการแชร์ความรู้ในการโพสต์รอบนี้แล้วนะครับ ก่อนที่จะเริ่มในเนื้อหาในส่วนนี้ผมอยากจะขอฝากไว้นิสนึงตรงนี้ว่า หลังจากที่ในครั้งที่แล้วที่ผมได้ทำการอธิบายให้เพื่อนๆ ได้ทราบถึงข้อดีและข้อจำกัดของวิธีในการทดสอบความสมบูรณ์ของโครงสร้างเสาเข็มโดยวิธีการใส่แรงกระแทกเข้าไปที่ส่วนบนของโครงสร้างเสาเข็มไปเป็นที่เรียบร้อยแล้วเพื่อนๆ ก็น่าจะเห็นได้ว่าจริงๆ แล้วข้อจำกัดของวิธีการทดสอบนี้ก็มีอยู่ค่อนข้างมาก ดังนั้นหากจะเลือกนำเอาวิธีการดังกล่าวนี้มาใช้ในการทดสอบโครงสร้างเสาเข็มผมก็ขอให้คำแนะนำว่า เพื่อนๆ … Read More

“ถาม-ตอบชวนสนุก” ปัญหาการคำนวณหาว่าค่าความเครียดเกิดขึ้นตอนที่เกิดค่าหน่วยแรงอัดของคอนกรีตซึ่งถูกโอบรัดทางด้านข้างสูงสุดของหน้าตัดของโครงสร้างเสา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ หากผมทำการสมมติว่าหน้าตัดของโครงสร้างเสาต้นนี้มีค่า C เท่ากับ 0.85 ส่วนค่าหน่วยแรงอัดของคอนกรีตที่ยังไม่ถูกโอบรัดและถูกโอบรัดทางด้านข้างนั้นจะมีค่าเท่ากับ 210 KSC … Read More

“ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” ความสำคัญของหน่วยแรงอัดของคอนกรีตที่ถูกโอบรัดทางด้านข้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ ในการโพสต์เมื่อสัปดาห์ที่แล้วผมได้ทำการยกตัวอย่างในการคำนวณหาค่าหน่วยแรงอัดของคอนกรีตที่ถูกโอบรัดทางด้านข้างหรือ CONFINED COMPRESSIVE STRESS ของหน้าตัดโครงสร้างเสา คสล ที่ถูกทำการโอบรัดด้วยเหล็กปลอกให้กับเพื่อนๆ ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ซึ่งหากเพื่อนๆ ยังพอจำได้ว่าในการโพสต์สองครั้งก่อนหน้านี้ผมได้ทำการอธิบายไว้ว่า สาเหตุและความสำคัญที่พวกเรามีความจำเป็นที่จะต้องทำการพิจารณานำเอามาค่าหน่วยแรงอัดของคอนกรีตที่ถูกโอบรัดทางด้านข้างนี้มาใช้ในการออกแบบหน้าตัดโครงสร้างเสา คสล … Read More

“ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” เหตุใดจึงควรคำนึงถึงรายละเอียดที่มีความเกี่ยวข้องกันกับงานวิศวกรรมโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เนื่องจากก่อนหน้านี้ผมได้ปรารภเป็นการส่วนตัวในหน้าเพจส่วนตัวของผมเกี่ยวกับเรื่อง การทำรายละเอียดของงานวิศวกรรมโครงสร้าง คสล ให้แก่ช่างที่ทำงานที่หน้างานในทำนองที่ว่า หน้าที่ของผู้ออกแบบที่ดีคือ ต้องคิดและคำนึงถึงอยู่เสมอว่าคนทำงานเค้าจะมีความเข้าใจถึงรายละเอียดต่างๆ ที่ผู้ออกแบบอย่างเราๆ นั้นได้ทำการคิดและทำการออกแบบไว้มากหรือน้อยเพียงใดในทุกๆ งานออกแบบ ไม่ว่างานนั้นจะเป็นงานเล็กหรืองานใหญ่เพียงใดก็ตาม ซึ่งสำหรับหลายๆ คนนั้นอาจจะคิดว่า … Read More

“ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” การทดสอบความสมบูรณ์ของโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เนื่องจากเมื่อประมาณ 2-3 สัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมต้องเดินทางไปทำงานตรวจการทำงานซ่อมแซมและเสริมกำลังให้แก่โครงสร้างอาคารเก่าในต่างจังหวัดซึ่งในวันนั้นจะต้องมีการตรวจสอบความสมบูรณ์ของโครงสร้างเสาเข็มหรือ PILE INTEGRITY TEST ด้วย ซึ่งผลจากการไปดูงานวันนั้นทำให้ผมพบว่าในปัจจุบันยังมีวิศวกรหลายๆ คนที่ยังมีความเข้าใจที่ผิดพลาดคลาดเคลื่อนไปจากข้อเท็จจริงหลายประการอยู่เหมือนกัน ดังนั้นผมจึงอยากจะขออนุญาตใช้พื้นที่ของการโพสต์นี้ในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องๆ … Read More

“ถาม-ตอบชวนสนุก” ปัญหาการคำนวณเรื่องระยะการฝังของเหล็กเสริมในโครงสร้างคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ หากผมมีโครงสร้างคานคอนกรีตซึ่งจะมีค่ากำลังอัดประลัยของตัวอย่างคอนกรีตรูปทรงกระบอกมาตรฐานที่อายุ 28 วัน เท่ากับ 240 KSC โดยที่ผมจะใช้เหล็กเสริมซึ่งเป็นเหล็กข้ออ้อยชั้นคุณภาพ … Read More

ที่มาและความสำคัญ ของสมการในการคำนวณหาระยะความลึกประสิทธิผลน้อยที่สุด ในหน้าตัดโครงสร้างคานรับแรงดัด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ ผมมีคำถามเข้ามาจากแฟนเพจที่เป็นน้องวิศวกรซึ่งเป็นผู้หญิงท่านหนึ่งเกี่ยวกับสมการที่ใช้ในการตรวจสอบหาว่า ระยะความลึกประสิทธิผลน้อยที่สุด หรือค่า EFFECTIVE DEPTH ซึ่งเรามักจะแทนค่าด้วยตัวย่อว่า dmin ที่หน้าตัดของโครงสร้างคานรับแรงดัดของเรานั้นมีความต้องการนั้นมีที่มาที่ไปของสมการคำนวณจากอะไร ซึ่งผมก็ได้ตอบไปในทันทีเลยว่า ก็มาจากสมการที่ใช้ในการคำนวณหาค่าอัตราส่วนของเหล็กเสริมรับแรงดึงหรือสมการที่ใช้ในการคำนวณหาค่าปริมาณของเหล็กเสริมรับแรงดึงนั่นแหละ ผมเลยคิดว่าจะเอาคำตอบที่ผมได้ตอบน้องท่านนี้เอามาเล่าสู่กันฟังกับเพื่อนๆ ด้วยก็น่าที่จะเป็นการดีนะครับ … Read More

“ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” วิธีการก่อสร้างระบบโครงสร้างแผ่นพื้นและคานเชิงประกอบ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดถึงประเด็นที่มีความสำคัญเกี่ยวกับเรื่อง การใช้งานระบบโครงสร้างแผ่นพื้นสำเร็จรูปเชิงประกอบ หรือ COMPOSITE SLAB STRUCTURAL SYSTEM ซึ่งเป็นหัวข้อๆ หนึ่งที่ผมเคยได้นำเอามาพูดถึงไปแล้วก่อนหน้านี้นั่นก็คือ วิธีในการก่อสร้างระบบโครงสร้างแผ่นพื้นเชิงประกอบ หรือ CONSTRUCTION … Read More

การนำเอาค่าตัวคูณเพื่อหาความยาวประสิทธิผล และค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์ ไปใช้ในการทำงานออกแบบวิศวกรรมโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ จริงๆ แล้วในวันนี้ผมอยากที่จะขึ้นหัวข้อใหม่แล้วแต่คิดไปคิดมาผมเลยอยากจะขอจบการอธิบายเกี่ยวกับเรื่องของ ค่าตัวคูณเพื่อหาความยาวประสิทธิผล หรือค่า K และ ค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์ หรือ EULER’S CRITICAL COMPRESSION LOAD … Read More

ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง MatrixAnalysisOfStructure

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เมื่อประมาณ 2 ถึง 3 สัปดาห์ก่อนหน้านี้มีรุ่นน้องวิศวกรท่านหนึ่งได้แจ้งกับผมมาว่า เค้าอยากจะให้ผมอธิบายถึงเรื่องหลักการของ FINITE ELEMENT ANALYSIS หรือที่เรานิยมเรียกกันสั้นๆ ว่า FEA … Read More

1 2 3 4 29