ความสำคัญของการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างที่ต้องทำหน้าที่ในการรับแรงทางด้านข้างของดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะมาขออนุญาตมาตอบคำถามให้แก่แฟนเพจท่านหนึ่งที่เคยได้ให้ความกรุณาสอบถามผมเข้ามาเกี่ยวกับประเด็นๆ หนึ่งสักพักใหญ่ๆ มาแล้วแต่เนื่องด้วยภารกิจต่างๆ เลยทำให้ผมยุ่งๆ และเพิ่งจะมีเวลาที่จะมาตอบคำถามข้อนี้ให้ ซึ่งใขความของคำถามนั้นเป็นดังนี้ครับ “รบกวนสอบถามอาจารย์ว่า หากผมจะตอกเสาเข็มไมโครไพล์ลงไปในดินและก็จะใช้พื้น คอร สำเร็จรูปทำหน้าที่เป็นโครงสร้างผนังรับแรงกระทำของดินทางด้านข้างมันจะใช้งานจริงๆ … Read More

การคำนวณหน้าตัดโครงสร้าง ที่ต้องทำหน้าที่ในการรับแรงดัดเปรียบเทียบกัน ระหว่างมาตรฐานการออกแบบของฝั่งอเมริกาและฝั่งอังกฤษ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ เมื่อสัปดาห์ก่อนผมได้ทำการอธิบายเกี่ยวกับเรื่อง ค่าตัวคูณลดกำลัง หรือ REDUCTION FACTOR ซึ่งก็คือค่า Ø ในมาตรฐานการออกแบบของฝั่งอเมริกา หรือ ACI318 … Read More

ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง การออกแบบเสายาว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เมื่อหลายวันก่อนผมได้มีโอกาสสนทนากับท่านอาจารย์ที่ผมเคารพมากท่านหนึ่งเกี่ยวกับเรื่องการออกแบบ SLENDER COLUMN โดยที่เนื้อหาที่คุยกันนั้นผมได้เล่าให้ท่านอาจารย์ฟังถึงกรณีของขนาดของโครงสร้างเสาภายในอาคาร 3 ชั้นที่เกิดเพลิงไหม้และในที่สุดก็เกิดการถล่มลงมาเมื่อหลายวันก่อนนั้นมีขนาดที่ค่อนข้างจะเล็กมากๆ อย่าว่าแต่ LATERAL LOAD CASE เลย เฉพาะแค่ … Read More

สาเหตุของการที่ค่าตัวคูณลดกำลัง สำหรับกรณีของการที่ชิ้นส่วนต้องทำหน้าที่ในการรับแรงดัดในมาตรฐานการออกแบบสมัยใหม่และในอดีตนั้นมีค่าแตกต่างกัน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ คำถามในวันนี้ยังคงมาจากเพื่อนของผมท่านเดิม ดังนั้นจะมีความต่อเนื่องมาจากคำถามเมื่อในสัปดาห์ที่แล้วนั่นก็คือ หากเพื่อนๆ สังเกตดูในรูปที่ 1 นั่นก็คือ สมการที่ใช้ในการคำนวณหาปริมาณของเหล็กเสริมรับแรงดึงภายในหน้าตัดของโครงสร้างคาน คสล จะพบว่ามี ค่าตัวคูณลดกำลัง … Read More

ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ปัญหาการคำนวณหาค่าหน่วยแรงแบกทานที่ยอมให้ของดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ผมขอทำการสมมติว่า เพื่อนๆ ต้องทำหน้าที่เป็นผู้ออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างในโครงการก่อสร้างแห่งหนึ่ง โดยที่ผมขอทำการตั้งสมมติฐานในการออกแบบฐานรากแบบแผ่หรือ BEARING FOUNDATION … Read More

ปัญหาขนาดความลึกน้อยที่สุดของโครงสร้างคานคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ หากเพื่อนๆ มีความประสงค์ที่จะทำการออกแบบโครงสร้างคาน คสล แบบหล่อในที่ๆ มีลักษณะเป็นโครงสร้างคานต่อเนื่องแบบ 3 ช่วง … Read More

ความรู้เรื่องการหาค่าการเสียรูปในโครงสร้างคานคอนกรีตเสริมเหล็กโดยวิธีแบบละเอียด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาพาเพื่อนๆ ไปลงรายละเอียดในรายการคำนวณการตรวจสอบหาค่าการเสียรูปภายในหน้าตัดของโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กในหน้าที่ 6 ซึ่งเป็นหน้าสุดท้ายแล้ว ซึ่งก็คือรูปที่ผมได้นำเอามาประกอบคำอธิบายในวันนี้นะครับ โดยที่เนื้อหาในหน้าสุดท้ายนี้จะเป็นการคำนวณเพื่อที่จะตรวจสอบหาว่า สถานะของการเสียรูปในแนวดิ่งของโครงสร้างคานของเรานั้นเป็นเช่นใดเมื่อเราทำการพิจารณาจากค่าเกณฑ์ต่างๆ ซึ่งเป็นค่าที่ยอมให้ตามที่ได้มีการระบุเอาไว้ใน CODE ใช่หรือไม่นะครับ ก่อนอื่นหน้านี้จะเริ่มต้นจากการที่เราต้องทำการพิจารณาถึงกรณีของ การเสียรูปในระยะยาว … Read More

รายการคำนวณการตรวจสอบหาค่าการเสียรูปภายในหน้าตัดของโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาพาเพื่อนๆ ไปลงรายละเอียดในรายการคำนวณการตรวจสอบหาค่าการเสียรูปภายในหน้าตัดของโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กในแต่ละหน้าแต่ละหัวข้อไปพร้อมๆ กันนะ โดยที่ในวันนี้ผมก็จะมาต่อกนในหน้าที่ 3 4 และ 5 หลังจากที่เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้ลงรายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหาในการคำนวณในหน้าที่ 1 และ 2 … Read More

ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาพาเพื่อนๆ ไปลงรายละเอียดในรายการคำนวณการตรวจสอบหาค่าการเสียรูปภายในหน้าตัดของโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กในแต่ละหน้าแต่ละหัวข้อไปพร้อมๆ กันนะ โดยที่ในวันนี้ผมก็จะมาต่อกนในหน้าที่ 2 หลังจากที่เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้ลงรายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหาในการคำนวณในหน้าที่ 1 ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ซึ่งก็คือรูปที่ผมได้นำเอามาประกอบคำอธิบายในวันนี้นะครับ โดยที่ในหน้านี้หลักๆ แล้วก็จะว่าด้วยเรื่องของการคำนวณหาคุณสมบัติและรายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับงานออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก … Read More

การออกแบบแผ่นเหล็กที่มีการติดตั้งสลักเกลียวแบบฝังยึด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ เอาอีกแล้ว ในสัปดาห์นี้ผมก็ยังคงตั้งใจที่จะทำการขึ้นหัวข้อใหม่แล้วแต่สืบเนื่องจากผมได้รับการสอบถามเข้ามาเกี่ยวกับคำถามว่า ที่ผ่านมาผมได้ทำการพูดถึงเรื่องวิธีในการออกแบบโครงสร้างแผ่นเหล็กที่จะทำหน้าที่รองรับแรงกดสำหรับโครงสร้างเสาเหล็กรูปพรรณหรือ COLUMN BEARING PLATE ไปแล้วแต่เท่าที่ติดตามอ่านบทความดู ผมยังไม่ได้พูดถึงกรณีของโครงสร้างแผ่นเหล็กที่จะทำหน้าที่รองรับแรงกดสำหรับโครงสร้างคานเหล็กรูปพรรณหรือ BEAM BEARING PLATE เลย … Read More

1 2 3 4 5 29