ตำแหน่งของระยะวิกฤติสำหรับการออกแบบแรงเฉือนในคาน

สวัสดี ทุกๆท่านครับ มาอยู่กับ Mr.เสาเข็ม เช่นเคยพร้อมสาระความรู้ เกี่ยวกับการก่อสร้างและวิศวกรรม วันนี้เป็นเรื่อง ตำแหน่งของระยะวิกฤติสำหรับการออกแบบแรงเฉือนในคาน ใน ตัวอย่างนี้ ผมขอยกตัวอย่าง คานคอนกรีตเสริมเหล็ก อันหนึ่งที่มีการวางตัวอย่างง่าย (SIMPLY SUPPORTED) ที่มีช่วงความยาวเท่ากับ 8 ม คานๆ นี้มีขนาดความลึกเท่ากับ 0.70 … Read More

การเปรียบเทียบวิธีการวิเคราะห์โครงสร้างระหว่าง FORCE METHOD และ DISPLACEMENT METHOD

มาอยู่กับ Mr.เสาเข็ม กันอีกเช่นเคย พร้อมสาระความรู้เกี่ยวกับการก่อสร้างและวิศวกรรม นะครับ วันนี้เราจะมาคุยกันถึง การเปรียบเทียบวิธีการวิเคราะห์โครงสร้างระหว่าง FORCE METHOD และ DISPLACEMENT METHOD เราสามารถที่จะทำการเปรียบเทียบวิธีการวิเคราะห์โครงสร้างระหว่าง FORCE METHOD และ DISPLACEMENT METHOD ได้จาก (1) ตัวแปรตั้งต้นที่เราไม่ทราบค่า … Read More

ตำแหน่งของระยะวิกฤติสำหรับการออกแบบแรงเฉือนในคาน

สวัสดีครับ มาพบกับ Mr.เสาเข็ม พร้อมความรู้ดีดี เกี่ยวกับการก่อสร้างและวิศวกรรม อีกเช่นเคย วันนี้จะเป็นความรู้เกี่ยวกับ ตำแหน่งของระยะวิกฤติสำหรับการออกแบบแรงเฉือนในคาน สาเหตุที่ต้องนำเรื่องๆ นี้มาอธิบาย เพราะว่า เท่าที่สังเกตมาโดยตลอด พบว่าเมื่อทำการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คานคอนกรีตเสริมเหล็ก ให้ต้องสามารถที่จะต้านทานต่อแรงเฉือนที่เกิดขึ้นได้นั้น ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วจะใช้ หน้าตัด และ ค่าแรงเฉือน ณ … Read More

โปรแกรมทาง FINITE ELEMENT

บ่ายๆ แบบนี้ Mr.เสาเข็ม ก็นำความรู้ดีดี เกี่ยวกับการก่อสร้างมาแชร์กันอีกเช่นเคยนะครับ วันนี้จะมาแชร์เรื่อง โปรแกรมทาง FINITE ELEMENT วันนี้ผมอยากจะขออนุญาตมาทำการขยายความถึงการใช้งานโปรแกรมทาง FINITE ELEMENT แก่เพื่อนๆ ทุกท่านนะครับ การใช้งานโปรแกรมทาง FINITE ELEMENT ใดๆ เราควรที่จะมีความรู้พื้นฐานถึงทฤษฎี FINITE ELEMENT … Read More

เสาเข็มกลมแรงเหวี่ยง (Spun Micro Pile) Dia 21 cm.

สวัสดีครับ วันนี้ก็มาพบกับ Mr.เสาเข็ม กันอีกเช่นเคย วันนี้ จะมาแนะนำเกี่ยวกับ เสาเข็มกลมแรงเหวี่ยง (Spun Micro Pile) Dia 21 cm. กันนะครับ เสาเข็มกลมแรงเหวี่ยง (Spun Micro Pile) Dia 21 cm. มีความสามารถในการรับน้ำหนักปลอดภัยที่ … Read More

เสาเข็มกลมแรงเหวี่ยง (Spun Micro Pile) Dia 25 cm.

สวัสดีครับ วันนี้ก็มาพบกับ Mr.Spunman กันอีกเช่นเคย วันนี้ จะมาแนะนำเกี่ยวกับ เสาเข็มกลมแรงเหวี่ยง (Spun Micro Pile) Dia 25 cm. กันนะครับ เสาเข็มกลมแรงเหวี่ยง (Spun Micro Pile) Dia 25 cm. … Read More

คานคอดิน (GROUND BEAM) ควรอยู่สูงจากระดับพื้นดินเท่าไหร่

คานคอดิน (Ground Beam) คือส่วนประกอบโครงสร้างบนดินที่รับน้ำหนักพื้น ผนัง และสิ่งที่อยู่เหนือคานคอดินขึ้นไป แล้วจึงถ่ายน้ำหนักไปยังตอม่อและฐานรากต่อไป การก่อสร้างคานคอดิน แบ่งจากระดับความสูงจากพื้นดินได้ 2 แบบ คานคอดินวางอยู่บนระดับดิน เนื่องจากระดับพื้นชั้นล่างอยู่สูงจากระดับดินไม่มากนัก ในการก่อสร้างจึงมักทำเนินดินให้สูงเสมอท้องคานคอดิน และเทลีน (Lean) เพื่อใช้เป็นแบบหล่อท้องคานแทนการใช้ไม้แบบ และใช้ไม้แบบเฉพาะด้านข้างคานทั้งสองด้าน คานคอดินอยู่สูงจากระดับดินมากกว่า 1 … Read More

อิฐมวลเบา (LIGHTWEIGHT CONCRETE)

อิฐมวลเบา (Lightweight Concrete) คือคอนกรีตมวลเบาหรืออิฐมวลเบา เป็นวัสดุสำหรับก่อผนังสำหรับอาคารสูงหรือบ้านที่อยู่อาศัย เป็นวัสดุก่อที่นำเทคโนโลยีการผลิตมาจากต่างประเทศ มีทั้งแบบบล็อกตันและบล็อกกลวง (คล้ายคอนกรีตบล็อก) ขนาดใหญ่ แต่น้ำหนักเบามากกว่าเนื่องจากมีฟองอากาศขนาดเล็กกระจายอยู่อย่างสม่ำเสมอในเนื้อวัสดุ อิฐมวลเบามีขนาดมาตรฐาน กว้าง 20 x 20 เซนติเมตร และมีความหนาตั้งแต่ 7.5, 10, 12.5, … Read More

สารยับยั้งการเกิดสนิมของเหล็กเสริม (CORROSION INHIBITOR)

การเกิดสนิมของเหล็กเสริมในโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก เป็นปัญหาสำคัญที่ก่อให้เกิดความเสียหายทั้งรอยแตกร้าว คราบน้ำสนิม การหลุดร่อนของคอนกรีต รวมไปถึงการพังทลายของโครงสร้าง ความเสียหายที่มักพบเนื่องจากสาเหตุการเกิดสนิมได้แก่ คราบน้ำสนิมบนผิวคอนกรีต รอยแตกร้าวเนื่องจากการขยายตัวของสนิมเหล็ก การระเบิดออกของผิวคอนกรีต ซึ่งหากไม่มีการซ่อมแซมโครงสร้างดังกล่าวอย่างถูกต้องเหมาะสม อาจนำไปสู่การพังทลายของโครงสร้างได้ การซ่อมแซมการเกิดสนิมอีกวิธีวิธีที่ได้รับการนิยมเป็นอย่างสูง ได้แก่ การใช้สารยับยั้งการเกิดสนิม ซึ่งมีความสะดวกในการดำเนินการ และอาจใช้ควบคู่ไปกับวิธีการป้องกันและซ่อมแซมอื่นๆ ได้ เพื่อให้ระบบการป้องกันและซ่อมแซมมีความประสิทธิภาพ และมีความคงทนมากยิ่งขึ้น สารยับยั้งการเกิดสนิม (Corrosion Inhibitor) … Read More

สนิมในเหล็กเสริมคอนกรีตคืออะไร มีข้อเสียยังไง แล้วจะแก้ปัญหานี้ได้อย่างไร

ปัญหาการเกิดสนิมในเหล็กเสริมคอนกรีต เป็นปัญหาที่มีผลกระทบต่อความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร โดยเฉพาะอาคารที่ถูกสร้างมานานหลายปี ปัญหาที่เกิดจากการเกิดสนิมในเหล็กเสริมจะทำให้พื้นที่หน้าตัดของเหล็กลดลงและคอนกรีตหุ้มเหล็กเสริมเกิดรอยแตกร้าวหลุดร่อนออกไป ทำให้สูญเสียความสามารถในการรับแรง อาคารเก่าแก่ที่มีอายุการใช้งานมานาน เมื่อเกิดปัญหาการเกิดสนิมในเหล็กเสริมคอนกรีตที่รุนแรง จะส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพของอาคารและเกิดความรู้สึกไม่ปลอดภัยต่อผู้ใช้อาคาร กลไกการเกิดสนิมเหล็ก การเกิดสนิมเหล็กเป็นผลจากการทำปฏิกิริยาเคมีของเหล็ก เป็นปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้า (electronchemical) ของเหล็กกับสารประกอบที่ปะปนในสิ่งแวดล้อมที่สัมผัสกับเหล็กนั้นๆ กระบวนการเกิดสนิมเหล็กโดยเฉพาะอย่างยิ่งการเกิดสนิมในเหล็กที่มีวัสดุอื่นมาปกคลุมผิว เช่น โครงเหล็กของอาคารที่ผิวทาสีกันสนิมหรือในเหล็กเสริมคอนกรีต จะมีกระบวนการเกิดสนิมที่ซับซ้อน ค่อยเป็นค่อยไป   การเกิดสนิมเหล็ก … Read More

1 4 5 6 7 8