วิธีในการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างของอาคารเพื่อใช้ในการต้านทานแรงที่กระทำจากแผ่นดินไหว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกับเรื่อง วิธีในการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างของอาคารเพื่อใช้ในการต้านทานแรงที่กระทำจากแผ่นดินไหว นั่นเองนะครับ   โดยหากจะพูดกันถึงหัวข้อๆ นี้จะพบว่าเนื้อหานั้นค่อนข้างที่จะมีความยืดยาวมากพอสมควรเลย ผมจึงตัดสินใจที่จะทำการแบ่งออกเป็นตอนๆ โดยที่ในวันนี้จะเป็นตอนที่ 1 ซึ่งจะเป็นการกล่าวถึง หลักวิธีที่เราใช้ในการออกแบบ นะครับ   หากเมื่อใดก็ตามที่เราพูดถึงแรงกระทำที่เกิดจากสภาวะการเกิดขึ้นของแผ่นดินไหว … Read More

ความรู้ทางด้านการออกแบบต่อเติมงานวิศวกรรมโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งในช่วงบ่ายของวันอาทิตย์แบบนี้นะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะมาร่วมกันเสวนาถึงคำถามที่ผมได้เชิญชวนให้เพื่อนๆ ให้มาร่วมสนุกตอบคำถามกัน ซึ่งคำถามในวันนี้จะเกี่ยวข้องกับความรู้ทางด้านการออกแบบต่อเติมงานวิศวกรรมโครงสร้างนั่นเองนะครับ โดยที่คำถามนั้นมีอยู่ว่า หากผมมีความต้องการที่จะทำการเจาะเสียบ พุกเหล็ก หรือ สลักเกลียวเคมี หรือที่เรานิยมเรียกกันในภาษาอังกฤษว่า CHEMICAL ANCHOR BOLT เข้าไปในโครงสร้างคอนกรีตเดิม โดยที่สลักเกลียวนี้มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ 16 มม โดยผมขอสมมติว่าผมจะใช้ตัวเคมีภัณฑ์ … Read More

วิชา THEORY OF STRUCTURES หรือ ทฤษฎีโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่คำถามที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ในวันนี้จะอยู่ในแขนงวิชา THEORY OF STRUCTURES หรือ ทฤษฎีโครงสร้าง นะครับ   คำถามข้อนี้คือคำถามข้อที่ 77 ซึ่งจะมีส่วนที่เกี่ยวข้องต่อเนื่องมาจากปัญหาข้อที่ 76 ที่ผมเคยได้นำมาอธิบายแก่เพื่อนๆ … Read More

ความรู้ทางด้านงานออกแบบ ที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้าง ที่อยู่เหนือพื้นดินขึ้นไป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่เหนือพื้นดินขึ้นไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ   โดยที่หัวข้อในวันนี้คือ พวกเราจะมีวิธีการอย่างไร หากว่าต้องทำหน้าที่เป็นผู้ควบคุมการทำงานซึ่งต้องคอยทำหน้าที่ตรวจสอบความเรียบร้อยก่อนการทำงานเทคอนกรีตสำหรับงานจำพวกโครงสร้าง คสล นั่นเองนะครับ โดยวิธีการที่ผมจะนำมาสรุปให้ฟังนี้ถือได้ว่าเป็นขั้นตอนพื้นฐานสำหรับการตรวจโครงสร้าง คสล ก่อนการเทคอนกรีตพอสังเขป โดยเพื่อนๆ สามารถที่จะใช้การตรวจสอบและการสังเกตได้ด้วยตาเปล่าเลยนะครับ โดยที่ผมทำการสรุปออกมาทั้งหมด 6 ข้อด้วยกัน … Read More

เฉลยคำตอบ ข้อสอบในวิชา THEORY OF STRUCTURES ข้อที่ 76

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกเช่นเคยในวันบ่ายจันทร์แบบนี้โดยที่หัวข้อในวันนี้ผมจะมาเฉลยคำตอบในการสอบใบประกอบวิชาชีพในระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกรนะครับ ในวันนี้จะเป็นข้อสอบในวิชา THEORY OF STRUCTURES นะครับ โดยที่ข้อสอบข้อนี้มีรายละเอียดของถามว่า ข้อที่ 76 คานช่วงเดี่ยวปลายยื่นรับน้ำหนักบรรทุกดังรูป ตำแหน่งที่โมเมนต์ดัดมีค่ามากที่สุดจะอยู่ห่างจากจุด A เป้นระยะประมาณ เฉลย เนื่องจากหากประเมินเร็วๆ ก็พอจะทราบแล้วนะครับว่าโครงสร้างคานนี้เป็นปัญหาโครงสร้างคานอย่างง่าย (DETERMINATE BEAM) … Read More

ภาษาอังกฤษที่เรามีการใช้งานทับศัพท์ในภาษาไทย

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW) นะครับ เพื่อนๆ ทราบกันใช่หรือไม่ครับว่ามีคำในภาษาอังกฤษที่เรามีการใช้งานทับศัพท์ในภาษาไทยด้วย ดังนั้นในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาให้คำแนะนำให้เพื่อนๆ ได้รับทราบกันถึงคำประเภทนี้ ซึ่งจริงๆ แล้วก็มีอยู่จำนวนไม่น้อยเลย ดังนั้นวันนี้ตัวอย่างที่ผมนำมาฝากเพื่อนๆ จึงเป็นเพียงแค่บางส่วนเท่านั้นเอง เช่น … Read More

เฉลยคำตอบ ข้อสอบในวิชา THEORY OF STRUCTURES ข้อที่ 82

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกเช่นเคยในวันบ่ายจันทร์แบบนี้โดยที่หัวข้อในวันนี้ผมจะมาเฉลยคำตอบในการสอบใบประกอบวิชาชีพในระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกรนะครับ ในวันนี้จะเป็นข้อสอบในวิชา THEORY OF STRUCTURES นะครับ โดยที่ข้อสอบข้อนี้มีรายละเอียดของถามว่า ข้อที่ 82 โครงเฟรม ABC รับน้ำหนักบรรทุกแบบจุด ดังรูป จะเห็นว่า เสา AB รับแรงต่างๆ คือ … Read More

จะต่อเติมหรือสร้างใหม่ แนะนำใช้เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) สามารถตอกชิดกำแพงได้ 50 ซม. จากเซ็นเตอร์เสาเข็มและสั่นสะเทือนน้อย

จะต่อเติมหรือสร้างใหม่ แนะนำใช้เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) สามารถตอกชิดกำแพงได้ 50 ซม. จากเซ็นเตอร์เสาเข็มและสั่นสะเทือนน้อย ต้องการต่อเติมบ้าน ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มที่มีคุณภาพและการตอกมาตรฐาน ISO 9001:2015 และ ISO 45001:2018 หากต้องตอกเสาเข็มชิดกำแพงที่มีกระจก แนะนำใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์แท้ ภูมิสยาม … Read More

ความแตกต่างระหว่างการใช้คำว่า Find out คำว่า Find และคำว่า Find That

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาให้คำแนะนำประโยคที่ถือได้ว่าเราใช้กันค่อนข้างบ่อยมากๆ ประโยคหนึ่งนั้นก็คือความแตกต่างระหว่างการใช้คำว่า Find out คำว่า Find และคำว่า Find That … Read More

มอร์ตาร์

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ คำถามในวันนี้คือจากรูปที่ผมนำมาแสดงให้เพื่อนๆ ได้รับชมในวันนี้ เพื่อนๆ คิดว่าผมกำลังถือวัสดุอะไรอยู่ในมือครับ ? ถูกต้องนะครับ ในรูปนั้นเป็นมอร์ตาร์ที่ได้รับการผสมเม็ดโฟมลงไปนั่นเองนะครับ   … Read More

1 22 23 24 25 26 27 28 74