ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในวันนี้ผมยังจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ อยู่นะครับ เนื่องจากเมื่อเย็นของเมื่อวานนี้ได้มีน้องนักศึกษาท่านหนึ่งได้อินบ็อกซ์เข้ามาปรึกษาผมและได้แจ้งว่าอยากจะรบกวนให้ช่วยอธิบายและแสดงวิธีในการแก้ปัญหาในกรณีที่โครงสร้างๆ คานยื่นโครงสร้างหนึ่งซึ่งมีรูปทรงแปลกๆ ดังรูปที่แสดง นั่นก็คือค่าความสูงของหน้าตัดจะมีค่าไม่คงที่ตลอดความยาวของคานนั่นเอง ซึ่งน้องได้แจ้งว่าต้องนำเอาคำตอบไปใช้ค่อนข้างด่วนซึ่งเรียนตามตรงผมไม่อยากที่จะสนับสนุนให้น้องทำแบบนี้เท่าใดนักเพราะเกรงว่าจะทำให้พวกเราหลายๆ คนเอาเยี่ยงอย่างได้แต่เอาเป็นว่าผมทำให้ครั้งนี้เป็นกรณีพิเศษก็แล้วกันเพราะเห็นว่าน้องมีความจำเป็นต้องนำคำตอบในคำถามข้อนี้ไปใช้ในโครงงานปริญญานิพนธ์ของน้อง เอาเป็นว่าเรามาดูรายละเอียดของคำถามกันเลยดีกว่านะครับ มีคานยื่นที่มีความยาวของช่วงยื่นเท่ากับ 400 มม หรือ 40 ซม หรือ 0.40 … Read More

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมต้องขออนุญาตโพสต์ให้เกิดความต่อเนื่องจากเมื่อวานกันอีกสักหนึ่งโพสต์นะครับ เพราะว่าประเด็นที่ผมได้นำมาหยิบยกเป็นกรณีศึกษาเมื่อวานนี้ค่อนข้างที่จะมีความเร่งด่วนสำหรับน้องที่ได้มาปรึกษาผมถึงประเด็นปัญหาๆ นี้ ดังนั้นในวันนี้เรายังคงจะต้องพูดถึงเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ อยู่นะครับ ยังไงผมต้องขออนุญาตทำการเท้าความโดยย่อสักเล็กน้อยก่อนนะครับ เผื่อว่าจะมีเพื่อนๆ ท่านใดที่อาจจะไม่ได้มีโอกาสอ่านโพสต์ของเมื่อวานแต่ได้มาอ่านโพสต์ของผมในวันนี้ จะได้ไม่งงว่าเกิดอะไรขึ้น ซึ่งเรื่องมีอยู่ว่าน้องบนเฟซบุ้คของผมท่านหนึ่งได้อินบ็อกซ์เข้ามาเพื่อปรึกษาเรื่องป้ายโฆษณาป้ายหนึ่งซึ่งมีความสูงจากพื้นดินประมาณ 7500 มม หรือ 7.50 เมตร   พอผมได้เห็นลักษณะและรูปร่างจากรูปถ่ายแล้วก็เลยได้สอบถามไปยังน้องท่านนี้ถึงกรณีของจุดรองรับของโครงสร้างดังกล่าวว่ามีลักษณะเป็นเช่นใด … Read More

ฐานรากตื้น หรือ SHALLOW FOUNDATION เกี่ยวกับ ค่าความสามารถในการรับกำลังแบกทานของดิน หรือ BEARING CAPACITY OF SOIL

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หลังจากที่ก่อนหน้านี้ผมได้เคยนำเสนอและเกริ่นถึงเรื่อง ฐานรากตื้น หรือ SHALLOW FOUNDATION เกี่ยวกับ ค่าความสามารถในการรับกำลังแบกทานของดิน หรือ BEARING CAPACITY OF … Read More

เหล็กเสริมต้านทานการแตกร้าว อันเนื่องมาจากการหดตัว ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดถึงเรื่อง เหล็กเสริมต้านทานการแตกร้าวอันเนื่องมาจากการหดตัวที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ ซึ่งถือได้ว่าเป็นเหล็กเสริมประเภทหนึ่งที่เราจำเป็นต้องทำการพิจารณาให้ต้องทำการเสริมอยู่ในแผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นทางเดียว และ แผ่นพื้นสองทาง ให้แก่เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้รับทราบกันนะครับ   ก่อนอื่นผมจะขอเกริ่นเท้าความสักเล็กน้อยถึงเนื้อหาที่ผมเคยได้อธิบายไปก่อนหน้านี้สักเล็กน้อยนะครับ … Read More

เสริมฐานรากโรงงาน ตอกรับพื้น ตอกรับฐานเครื่องจักรโรงงาน ต้อง เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) สามารถรองรับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัยตามหลักวิศวกรรมการก่อสร้าง

เสริมฐานรากโรงงาน ตอกรับพื้น ตอกรับฐานเครื่องจักรโรงงาน ต้อง เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) สามารถรองรับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัยตามหลักวิศวกรรมการก่อสร้าง เสาเข็มสปันไมโครไพล์แท้ภูมิสยาม เป็นเสาเข็มขนาดเล็ก ที่มีโครงเหล็กฝังอยู่ในเนื้อคอนกรีตโดยรอบ ผลิตโดยใช้กรรมวิธีการเหวี่ยงคอนกรีตในแบบหล่อ ทำให้มีความหนาแน่นกว่าตอนกรีตที่หล่อด้วยวิธีธรรมดา โดยเสาเข็มสามารถเชื่อมต่อแต่ละท่อนได้โดยวิธีการเชื่อมด้วยไฟฟ้า และใช้วิธีการตอกเสาเข็มชนิดนี้ด้วยปั่นจั่นแบบพิเศษ สามารถตอกต่อกันได้ลึกถึงชั้นดินทรายแข็ง เหมาะสำหรับใช้เป็นฐานรากของอาคารโรงงาน ที่ต้องการความมั่นคงแข็งแรงสูง สามารถรองรับน้ำหนักเครื่องจักรของโรงงานได้อย่างปลอดภัย ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี … Read More

วิธีในการคำนวณหาเหล็กเสริมในแผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นทางเดียว และ แผ่นพื้นสองทาง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดถึงเรื่อง วิธีในการคำนวณหาเหล็กเสริมในแผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นทางเดียว และ แผ่นพื้นสองทาง ให้แก่เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้รับทราบกันนะครับ   โดยมากแล้วเหล็กเสริมในแผ่นพื้นมักจะถูกกำหนดในแบบวิศวกรรมโครงสร้างให้เป็น เหล็กตะแกรง … Read More

การจำแนกชนิดและประเภท ของดินที่ได้จากการ ทำการเจาะสำรวจชั้นดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดและอธิบายถึงเรื่องการจำแนกชนิดและประเภทของดินที่เราจะได้จากการทำการเจาะสำรวจชั้นดินนะครับ   เมื่อผมเอ่ยถึงเรื่องๆ นี้ผมคิดว่าคงจะมีเพื่อนๆ หลายๆ คนอาจจะมีคำถามในใจว่า เพราะเหตุใดเราจึงจำเป็นที่จะต้องทราบถึงชนิดและประเภทของดินทีได้จากการทำการทดสอบดิน ?   ผมต้องบอกไว้ตรงนี้เลยนะครับว่า เป็นเรื่องที่มีความจำเป็นอย่างมากเลยละครับที่จะต้องทราบ … Read More

แผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นสองทาง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดถึงเรื่อง แผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นสองทาง ให้เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้รับทราบกันนะครับ   แผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นสองทาง ก็คือพื้นที่มีระยะของด้านยาว (L) … Read More

แผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นทางเดียว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดถึงเรื่อง แผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นทางเดียว ให้เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้รับทราบกันนะครับ   แผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นทางเดียว ก็คือพื้นที่มีระยะของด้านยาว (L) … Read More

ข้อมูลเชิงรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่อง ความลึกของหลุมเจาะเพื่อทำการทดสอบดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หลังจากที่ก่อนหน้านี้ผมเคยได้โพสต์อธิบายในเบื้องต้นถึงหลักในการประเมินในเรื่องของรายละเอียดต่างๆ ของหลุมทดสอบดินให้แก่เพื่อนๆ ไปแล้ว เช่น เรื่องตำแหน่งในการทดสอบดิน เรื่องวิธีในการทดสอบดิน เรื่องความลึกของหลุมเจาะเพื่อทำการทดสอบดิน เป็นต้น เพราะฉะนั้นในวันนี้ผมจะขออนุญาตพูดถึงข้อมูลเชิงรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องความลึกของหลุมเจาะเพื่อทำการทดสอบดินกันบ้างนะครับ   อย่างที่ทราบกันดีนะครับว่าหากเราจะทำการแบ่งประเภทของฐานรากที่ทำหน้าที่รองรับน้ำหนักบรรทุกต่างๆ … Read More

1 19 20 21 22 23 24 25 74