ความลึกที่เหมาะสมของหลุมเจาะในการทำการทดสอบดิน

ความลึกที่เหมาะสมของหลุมเจาะในการทำการทดสอบดิน จริงๆ แล้วประเด็นนี้เป็นประเด็นที่สำคัญมากๆ ในการที่เราจะต้องใช้ในการทำการทดสอบดินของเราเลยนะครับ เพราะ หากเราเลือกความลึกของหลุมเจาะที่ตื้นจนเกินไป เราก็อาจนำผลจากการทดสอบนี้ไปใช้ในการออกแบบตัวฐานรากไม่ได้เลย เนื่องจากจริงๆ แล้วอาคารของเรานั้นจำเป็นที่จะต้องใช้ขนาดของเสาเข็มที่มีความยาวมากกว่านั้น และ หากว่าเราเลือกใช้ความลึกของหลุมเจาะที่มีความลึกที่มากจนเกินความจำเป็นที่เราต้องใช้จริงๆ ก็อาจจะกลายเป็นความสิ้นเปลืองมากจนเกินไปก็ได้ครับ ผมกล่าวมาถึงตรงนี้ผมเชื่อว่าเพื่อนๆ หลายๆ คนอาจที่จะพอมองภาพออกแล้วใช่มั้ยครับว่าประเด็นที่เราควรนำมาพิจารณาใช้ในการกำหนดขนาดความลึกของเสาเข็มนั้นคืออะไร ? ถูกต้องครับ ประเด็นนั้นก็คือ ขนาด และ … Read More

ระบบพื้น POST-TENSIONED

ระบบพื้น POST-TENSIONED ระบบพื้น POST-TENSIONED ที่มักจะทำการออกแรงดึงลวดที่ 75% ของค่าแรงดึงสูงสุดนั้น เพราะเหตุใดจึงต้องทำการออกแรงดึงที่ค่าๆ นี้ และ จะดึงด้วยค่าอื่นที่อาจต่ำ หรือ สูงกว่าค่าๆ นี้ได้หรือไม่ ? คำตอบ คือ ได้ครับ แต่ ต้องมีประโยคที่เป็นข้อแม้ต่อท้ายด้วยนะครับ … Read More

การระบุหน่วยในรายการคำนวณ

การระบุหน่วยในรายการคำนวณ สืบเนื่องจากรุ่นน้องท่านนี้ไปเห็นรายการคำนวณการออกแบบโครงสร้างของผม และ ไปเห็นว่า หน่วยที่ผมใช้นั้นแปลกๆ คือ ผมตั้งใจที่จะเขียนตัวเลขในพจน์นั้นเป็น แรง (FORCE) ที่มีหน่วยเป็น กก (kg หรือ kilogram) ผมจึงเขียนตัวย่อในรายการคำนวณว่า kgf หรือ kilogram-force น้องท่านนี้จึงได้ถามกับผมว่า เหตุใดผมจึงต้องเขียนเช่นนี้ … Read More

เทคนิคในการ วิเคราะห์ และ แก้ไข งานวิศวกรรมฐานราก

เทคนิคในการ วิเคราะห์ และ แก้ไข งานวิศวกรรมฐานราก ปัญหาที่พบเจอ คือ ฐานรากใช้ระบบ เสาเข็มเหล็ก ร่วมกันกับ เสาเข็มคอนกรีต โดยที่ฐานรากยังเป็นฐานรากจม แต่ ปัญหาที่เรามักพบสำหรับกรณีนี้ คือ ความยาวของ เสาเข็มคอนกรีต และ เสาเข็มเหล็ก นั้นจำเป็นต้องใช้เท่ากันหรือไม่ … Read More

วิธีในการคำนวณหาค่า p นี้ในการแทนค่าหาค่า σ max ในโครงสร้างคานรับแรงดัด

วิธีในการคำนวณหาค่า p นี้ในการแทนค่าหาค่า σ max ในโครงสร้างคานรับแรงดัด ในหลายๆ ครั้งเพื่อนๆ มักไม่ได้นำความรู้ รวมไปถึงค่าต่างๆ ในหัวข้อนี้ไปใช้ในการวิเคราะห์ความเค้นในคานกันสักเท่าใดเลยนะครับ เพราะ เพื่อนหลายๆ คนมักจะมีความเข้าใจว่าในการหาค่าความเค้นในคานเราจำเป็นที่จะต้องทำการวิเคราะห์หาแรงปฏิกิริยาของจุดรองรับ หาค่าโมเมนต์ดัด และ จากนั้นเราจึงจะสามารถทราบได้ว่าคานนั้นจะมีความเค้นดัดเกิดขึ้นในหน้าตัดเป็นค่าเท่าใด เอาเป็นว่าวันนี้ผมจะมาให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ก็แล้วกันนะครับว่าการหาความเค้นดัดในคานนั้นเราไม่จำเป็นที่จะต้องทำเช่นนั้นก็ได้นะครับ เรามาเริ่มต้นดูรูปที่ผมแนบมาด้วยประกอบคำอธิบายของผมกันเลยดีกว่านะครับ … Read More

กรณีการออกแบบเสาคอนกรีตเสริมเหล็กที่มีความชะลูดมากโดยวิธีกำลัง (STRENGTH DESIGN METHOD)

กรณีการออกแบบเสาคอนกรีตเสริมเหล็กที่มีความชะลูดมากโดยวิธีกำลัง (STRENGTH DESIGN METHOD) หากเราทำการออกแบบเสาคอนกรีตเสริมเหล็กโดย วิธีกำลัง เราจะสามารถพิจารณาทำการออกแบบโดยพิจารณาว่าโครงสร้างเสาของเรานั้นเป็น เสาสั้น หรือ เสายาว ได้จากการคำนวณหาค่า อัตราส่วนความชะลูด (SLENDERNESS RATIO) ของเสา และ เปรียบเทียบกันกับลักษณะของการเสียรูปในทิศทางด้านข้างของโครงสร้างนะครับ โดยที่ หากเป็นโครงเฟรมที่ไม่มีการเซ (NON … Read More

FLEXURAL FORMULA ในเรื่อง STRESSES IN BEAM

FLEXURAL FORMULA ในเรื่อง STRESSES IN BEAM สาเหตุที่ผมหยิบยกเรื่องๆ นี้มาฝากแก่เพื่อนๆ เพราะว่าผมเห็นว่าในหลายๆ ครั้งเพื่อนๆ มักไม่ได้นำความรู้ รวมไปถึงค่าต่างๆ ในหัวข้อนี้ไปใช้ในการวิเคราะห์ความเค้นในคานกันสักเท่าใดเลยนะครับ เพราะ เพื่อนหลายๆ คนมักจะมีความเข้าใจว่าในการหาค่าความเค้นในคานเราจำเป็นที่จะต้องทำการวิเคราะห์หาแรงปฏิกิริยาของจุดรองรับ หาค่าโมเมนต์ดัด และ จากนั้นเราจึงจะสามารถทราบได้ว่าคานนั้นจะมีความเค้นดัดเกิดขึ้นในหน้าตัดเป็นค่าเท่าใด เอาเป็นว่าวันนี้ผมจะมาให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ … Read More

ตำแหน่งของระยะวิกฤติสำหรับการออกแบบแรงเฉือนในคาน

สวัสดี ทุกๆท่านครับ มาอยู่กับ Mr.เสาเข็ม เช่นเคยพร้อมสาระความรู้ เกี่ยวกับการก่อสร้างและวิศวกรรม วันนี้เป็นเรื่อง ตำแหน่งของระยะวิกฤติสำหรับการออกแบบแรงเฉือนในคาน ใน ตัวอย่างนี้ ผมขอยกตัวอย่าง คานคอนกรีตเสริมเหล็ก อันหนึ่งที่มีการวางตัวอย่างง่าย (SIMPLY SUPPORTED) ที่มีช่วงความยาวเท่ากับ 8 ม คานๆ นี้มีขนาดความลึกเท่ากับ 0.70 … Read More

การเปรียบเทียบวิธีการวิเคราะห์โครงสร้างระหว่าง FORCE METHOD และ DISPLACEMENT METHOD

มาอยู่กับ Mr.เสาเข็ม กันอีกเช่นเคย พร้อมสาระความรู้เกี่ยวกับการก่อสร้างและวิศวกรรม นะครับ วันนี้เราจะมาคุยกันถึง การเปรียบเทียบวิธีการวิเคราะห์โครงสร้างระหว่าง FORCE METHOD และ DISPLACEMENT METHOD เราสามารถที่จะทำการเปรียบเทียบวิธีการวิเคราะห์โครงสร้างระหว่าง FORCE METHOD และ DISPLACEMENT METHOD ได้จาก (1) ตัวแปรตั้งต้นที่เราไม่ทราบค่า … Read More

ตำแหน่งของระยะวิกฤติสำหรับการออกแบบแรงเฉือนในคาน

สวัสดีครับ มาพบกับ Mr.เสาเข็ม พร้อมความรู้ดีดี เกี่ยวกับการก่อสร้างและวิศวกรรม อีกเช่นเคย วันนี้จะเป็นความรู้เกี่ยวกับ ตำแหน่งของระยะวิกฤติสำหรับการออกแบบแรงเฉือนในคาน สาเหตุที่ต้องนำเรื่องๆ นี้มาอธิบาย เพราะว่า เท่าที่สังเกตมาโดยตลอด พบว่าเมื่อทำการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คานคอนกรีตเสริมเหล็ก ให้ต้องสามารถที่จะต้านทานต่อแรงเฉือนที่เกิดขึ้นได้นั้น ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วจะใช้ หน้าตัด และ ค่าแรงเฉือน ณ … Read More

1 2 3 4 5 6